1. ขอบเขต
หาปริมาณคลอไรด์ที่ซึมผ่านเนื้อคอนกรีต, มอร์ต้า จากการทดสอบโดยวิธี .การซึมผ่านแบบการไหลไม่คงที่ (non-steady-state)
2. การใช้ในสนาม
การทดสอบนี้จะใช้ตัวอย่างที่แข็งตัวแล้ว อาจหล่อขึ้นในห้องแลป หรืออาจเจาะมาจากโครงสร้างจริง สัมประสิทธิการซึมผ่านของคลอไรด์ หาได้โดยการวัดค่า.ความต้านทานการกัดกร่อนของคลอไรด์. ค่าการซึมผ่านของคลอไรด์นี้ ไม่สามารถนำมาเปรียบเทียบเป็นค่า .สัมประสิทธิการแพร่กระจาย.ได้
สัมประสิทธิการแพร่กระจายของคลอไรด์ ต้องใช้วิธีการทดสอบอื่น เช่น
- Non-steady-state immersion test.
- Steady-state migration test.
3. เอกสารอ้างอิง
- NT BUILD 201
- NT BUILD 202
- NT BUILD 208
- Tang.....
4. คำนิยาม
- การซึมผ่านของคลอไรด์ : การเคลื่อนที่ของไอออนภายใต้การกระทำของสนามอิเล็กตรอนที่มาจากภายนอก
- การแพร่กระจายของคลอไรด์ : กสรเคลื่อนที่ของโมเลกุล หรือไอออนจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำ
รูปที่ 1 รูปก้อนคอนกรีตที่ใช้ |
วิธีการทดสอบนี้ จะใช้ตัวอย่างทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 มม. และหนา 50 มม. สามาาถตัดมาจากตัวอย่างทรงกระบอกมาตรฐาน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 มม. สูง 200 มม. หรือเจาะมาจากโครงสร้างจริง จำนวน 3 ชิ้น
รูปที่ 2 รูปคอนกรีตยึดกับท่อ |
6.1 หลักการ : อิเล็กตรอนจากภายนอกเป็นตัวกระทำให้ไอออนของคลอไรด์ที่อยู่ภายนอกเคลื่อนที่เข้าไปอยู่ในเนื้อตัวอย่างคอนกรีต เมื่อระยะเวลาการทดสอบสิ้นสุด จึงนำตัวอย่างมาผ่าครึ่ง จะเห็นร่องรอยของคลอไรด์ ให้นำสีมาขีดตามรอยที่คลอไรด์ซึมผ่านได้
การวัดความลึก วัดจากร่องรอยของคลอไรด์ (จะมีสีขาว-เงิน) หลังจากนั้น นำค่าความลึกที่คลอไรด์ซึมผ่านได้ไปคำนวนค่า.สัมประสอทธิการซึมผ่านของคลอไรด์.้
6.2 สารเคมี และ อุปกรณ์
6.2.1 สารเคมี
- น้ำกลั่น
- แคลเซียมไฮดรอกไซด์. Ca(OH)2
- โซเดียมคลอไรด์. NaCl
- โซเดียมไฮดรอกไซด์. NaOH
- ซิลเวอร์ไรเตรต. AgNO3
- สารเคมีสำหรับวิเคราะห์คลอไรด์ (สำหรับใช้วิเคราะห์เพิ่มเติม)
รูปที่ 3 คอนกรีตตัวอย่างใช่ในสารละลาย |
- .โซ่เพชร ระบายความร้อนด้วยน้ำ
- .ตู้เก็บสูญญากาศ: สามารถเก็บตัวอย่างได้ 3 ชิ้น
- .ปั้มสูญญากาศ : รักษาความดันให้น้อยกว่า 5 kPa ในตู้สูญญากาศ
- .อุปกรณ์สำหรับติดตั้งตัวอย่าง
- ..แผ่นยางซิลิโคน : ด้านในและด้านนอก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 หรือ 115 มม., ยาวประมาณ 150 มม.
- ..แคล้ม (Clamp) : เส้นผ่านศูนย์กลาง 105-115, หนา 20 มม . , ยาวประมาณ 150 มม.
- ..Catholyte reservoir : ขนาด 370*270280 มม.
- ..แผ่นรองพลาสติก
- ..ขั้วแคโทด หนาประมาณ 0.5 มม.
- ..ขั้วแอโนด หนาประมาณ 0.5 มม.
- .หม้อแปลงไฟ : จ่ายไฟ 0~60 V DC ความคลาดเคลื่อน 0.1 V.
- .แอมมิเตอร์ ความละเอียด 1 mA.
- .เทอร์โมมิเตอร์ ความละเอียด 1 °C.
- .อุปกรณ์ผ่าตัวอย่าง
- .ปากกาสี สำหรับขีดรอยคลอไรด์
- .ไม้บรรทัด
6.3.2 สิ่งที่จำเป็น
หลังจากตัดตัวอย่างแล้ว, ให้ทำความสะอาดตัวอย่างให้สะอาด แล้วห่อด้วยพลาสติก เพื่อป้องกันการสูญเสียความชื้น เมื่อตัวอย่างมีผิวแห้งแล้ว นำมาใส่ตู้รักษาความดัน ลดความดันให้อยู่ในช่วง 1-5 kPa อย่างรวดเร็ว รอ 3 ชม. จากนั้นเติมสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)2) ลงไป และปล่อยให้ตัวอย่างอยู่ในสารละลายเป็นเวลา 18 ชม. (ยังคงรักษาความดันให้อยู่ในช่วง 1-5 kPa โดยใช้เครื่องปั้มสูญญากาศ)
6.4 ขั้นตอนการทดสอบ
6.4.1 Catholyte และ Anolyte
- สำหรับสารละลาย Catholyte ให้ใช้โซเดียมคลอไรด์ 10% (เติมโซเดียมคลอไรด์ 100 กรัม ลงในน้ำ 900 กรัม)
- สำหรับสารละลาย Anolyte ให้เติมโซเดียมไฮดรอกไซด์ 12 กรัม ลงในน้ำกลั่น 1,000 กรัม
6.4.2 อุณหภูมิ
- รักษาอุณหภูมิของสารละลายและตัวอย่างที่ใช้ทดสอบ ให้อยู่ในช่วง 20~25 °C.
รูปที่ 4 ตัวอย่างคอนกรีตถูกทดสอบ |
- เติมสารละลาย Cat ลงในอ่าง ในปริมาณ 12 ลิตร
- ใส่ยางรองตัวอย่าง ดังรูปที่ และยึดให้แน่น
- นำตัวอย่างลงอ่าง
- ใส่แขนเสื้อ และเติมสารละลาย ano ในปริมาณ 300 มิลลิกรัม
- แช่ขั้วแอโนดในสารละลาย and
- ต่อขั้วแค่โทดที่ขั้วลบ และต่อแอโนดที่ขั้วบวก
6.4.4 การทดสอบการซึมผ่าน
- ตั้งค่าแรงดันไฟฟ้าไว้ที่ 30 V. แล้วเปิดเครื่อง และบันทึกปริมาณกระแสไฟฟ้าตลอดความยาวของตัวอย่าง
- ปรับแรงดันไฟ(ถ้าจำเป็น) หลังจากปรับแล้ว ให้บันทึกค่าปริมาณกระแสไฟฟ้าใหม่
- บันทึกอุณหภูมิเริ่มต้นในแต่ละสารละลาย and
- เลือกช่วงเวลาในการทดสอบ ตามกระแสไฟฟ้าเริ่มต้น ดูตาราง
- บันทึกกระแสไฟฟ้าและอุณหภูมิสุดท้าย
รูปที่ 5 วัดระยะที่คลอไรด์ซึมเข้าในตัวอย่างคอนกรีต |
- ถอดแยกชิ้นส่วนตามที่เคยได้ประกอบไว้ สามารถใช้แท่งไม้ในการช่วยถอดยางรองได้
- ยกตัวอย่างขึ้นจากน้ำ
- เฉ็ดน้ำส่วนเกินที่อยู่ผิวหน้าของตัวอย่างออก
- แยกชิ้นส่วนของตัวอย่างออกเป็น 2 ชิ้น เลือกตัวอย่างที่หน้าตัดมีความตั้งฉากกันมากที่สุด แล้ววัดระยะที่คลอไรด์ซึมผ่านได้
- ฉีดซิลเวอร์ไนเตรทความเข้มข้น 0.1 โมล ในผิวหน้าตัวอย่าง
- หลังจาก 15 นาที จะเห็นรอยคลอไรด์ชัดเจนขึ้น จะช่วยให้วัดระยะได้แม่นยำมากขึ้น ให้อ่านค่าความละเอียด 0.1 มม.
6.4.6 ปริมาณคลอไรด์
- นำตัวอย่างที่ยังไม่แบ่งครึ่งมาทำการเฉือน หนาประมาณ 5 มม. ให้ขนานกับผิวหน้าที่สัมผัสกับสารละลายคลอไรด์ Cath
- คำนวนปริมาณคลอไรด์ที่อยู่ในแผ่นสไลด์หนา 5 มม. โดยวิธีของ NT BUILD 208 หรืออาจใช้วิธีอื่นที่ให้ผลได้แม่นยำมากกว่า
6.5 การแสดงผลการทดสอบ
6.5.1 ผลการทดสอบ
สมการที่ใช้หาค่าสัมประสิทธิการซึมผ่านของคลอไรด์แบบการไหลไม่คงตัว คือ ...