ขั้นตอน การทำพื้นอัดแรงแบบดึงลวดทีหลัง (Post-Tension)

*กำลังเขียน

 วางเหล็กล่าง (Bottom Rebar) และใส่ลูกปูน

 วางเหล็กเสริมบริเวณเสา ตามแบบที่ระบุ

สมอยึดลวด ด้านยึดตาย เป็นหัวหอม
(Anchorage, Onion Dead End)

สมอยึดลวด ด้านดึงลวด เสียบท่ออัดน้ำปูนแล้ว
(Anchorage, Stressing End)

 วางลวดอัดแรง (Tendon)

 ติดตั้งขา (ฺBar Chair)

 ใช้เทปกาวพันรอบท่อกัลวาไนท์ 

ท่อกัลวาไนท์ (Galvanized Sheath)
Galvanized Sheath คือ ท่อเหล็กชุบสังกะสี ตีเกลียว ไม่เป็นสนิม ไม่ทำปฎิกิริยากับลวดอัดแรงและคอนกรีต สามารถโค้งงอได้ตามความสูงต่ำที่ออกแบบไว้

รูปเทคอนกรีต
เทคอนกรีต งานจี้คอนกรีตให้แน่น และบ่มคอนกรีต

 แกะโฟมออก

ลักษณะที่น้ำปูนอุดตันสมอดึงลวด ต้องเจาะปูนออก

ใส่สมอ (Anchorage Block)

 สมอ อาจออกแบบมา 2 รู, 3รู 4 รู หรือ 5 รู

 ใส่ลิ้มกิ๊ฟ (Wedge grips)

ลิ้มกิ๊ฟ (Wedge grips)

 พ้นสี

 ดึงลวดอัดแรง (Stressing)

สังเกตุดูว่ากิ๊ฟล็อกลวดอัดอยู่หรือไม่

อุดปูนทรายที่เบ้าสมอยึดลวด

ขั้นตอน การก่อสร้าง ครีบ ติ่ง เคิฟ? ด้านล่าง

 ทำแนวสำหรับก่อสร้าง

 ก่ออิฐมวลเบาตามแนวที่วางไว้

ติดตั้งไม้แบบคานทับหลัง

คานทับหลัง

ทำเซี้ยมสำหรับฉาบ


 ฉาบผิวให้เรียบ

เรียบร้อย

ขั้นตอน การทำพื้นคอนกรีตหล่อกับที่



วางเหล็กเสริมตามแบบ
วางท่อเดินสายไฟ
เทคอนกรีต

 ติดตั้งนั่งร้านเพื่อใช้เป็นค้ำยัน



 ค้ำยันไม้ ใช้ค้ำแบบหล่อคานรับบันได

 เข้าแบบพื้น

 วิธีวางไม้แบบพื้น



ค้ำยันแบบด้านข้าง

 ช่องสำหรับเหล็กเสริม

ช่องสำหรับงานสุขาภิบาล

รอเทคอนกรีต

ขั้นตอน วางสายไฟฝังพื้นคอนกรีต

ขั้นตอนงานเดินสายไฟฝังพื้นคอนกรีต

1.งานวางท่อสายไฟ
ติดตั้งแฮนดี้บ๊อกซ์ (Handy boxes) บนไม้แบบพื้น

 ติดตั้งท่อสำหรับเดินสายไฟ

 ติดเทปกาว เพื่อป้องกันน้ำปูนไหลเข้า"แฮนดี้บ๊อกซ์"

แฮนดี้บ๊อกซ์ ถูกปิดไม่สนิท

แฮนดี้บ๊อกซ์ที่น้ำปูนไหลเข้านิดหน่อย

 แฮนดี้บ๊อกซ์ที่น้ำปูนไม่ไหลเข้า

2.งานเดินสายไฟ
 แฮนดี้บ๊อกซ์ที่น้ำปูนไหลเข้ามาก จนใช้งานไม่ได้
ต้องเจาะท่อสายไฟ

สายสลิง(สีดำ-แดง มาเป็นคู่)มีลักษณะพิเศษคือ ไม่หักหรืองอ
นำมาใช้ในงานเดินสายไฟ

1.ใช้สลิงสอดเข้าท่อสายไฟจนสลิงโผล่อีกด้าน

2.ใช้สายไฟเกี่ยวกับปลายสลิง

3.ดึงลวดสลิงกลับ

งานวางท่อสายไฟแยกเป็น 3 ส่วน

สวิชไฟ มีสายไฟ 2 เส้น

บล็อก 1. สายไฟใช้ทำเต้ารับ มี3สาย(มีสายกราวด้วย)
บล็อก 2. สายเคเบิลทีวี
บล็อก 3. สายโทรศัพท์

ขั้นตอน การก่อสร้าง ครีบ,ติ่ง,ฟิลลอยด์ ด้านบน

ถามว่าสิ่งนี้มันคืออะไร ช่างบางคนบอกว่า "ครีบ" บางคนก็ว่า "ติ่ง" ก็เลยไม่รู้จะเรียกว่าอะไร

 ทาอีพ็อกซี่สำหรับงานเสียบเหล็ก

 อีพ็อกซี่สำหรับงานเสียบเหล็ก
(ยี่ห้อนี้ ผมไม่เห็นเขาเขียนค่ากำลังไว้)

การคำนวณกำลังรับแรงดึง
เหล็กกลมขนาด 6 มม. ฝังลึก 25 มม.
พื้นที่ผิวที่ฝัง = 2 x Pi x r x h = 2x3.14x6x25
พื้นที่ผิวที่ฝัง = 942.47 ตร.มม.

กำลังแรงดึง = 942.47 x 15 N.
กำลังแรงดึง = 14,137 N.

กำลังแรงดึง = 1,441 kg.

*ควรใช้กำลัง 25% จากที่คำนวณได้ นั้นคือ 360 kg.
*น้ำหนักผนังอิฐมวลเบา 90 กก./ตร.เมตร

 เสียบเหล็กเข้าพื้นคอนกรีต

เสริมเหล็ก 

 ติดตั้งไม้แบบ

ติดตั้งค้ำยันตรงกลาง เพื่อไม่ให้คานแอ่นตัว

 เทคอนกรีตลงแบบหล่อ

 ถอดไม้แบบ

 เตรียมก่ออิฐ

 ก่ออิฐมวลเบา

รอฉาบต่อไป

ทำเซี้ยมปูน แล้วรอฉาบต่อไป